“ผึ้งพาตนเองได้” จ.สตูล
[8 กรกฎาคม 2567] ฐานการเลี้ยงผึ้งโพรงเป็นหนึ่งในฐานการเรียนรู้ที่เด็ก ๆ สนุกและตื่นเต้นมาก ฐานนี้ได้รับทุนสนับสนุนเพิ่มเติมจากมูลนิธิฯ
เบิ่งหมู่เฮาเฮด "ข้าวโป่ง" ขนมอีสานภูมิปัญญาชาวบ้าน จ.อำนาจเจริญ
[4 กรกฎาคม 2567] ขนมที่หลายคนรู้จักกันดีว่าเป็นขนมที่มีความเฉพาะตัว เพราะนอกจากกลิ่นหอมจากข้าวจากเตาถ่าน ยังกินอร่อยและกรอบถูกใจ
ไข่เค็มสมุนไพรใบเตย จ.อุบลราชธานี
[2 กรกฎาคม 2567] ไข่เค็มสามารถนำไปทำได้หลายเมนู เช่น ยำไข่เค็ม ซาลาเปาไส้หมูใส่ไข่เค็ม ไข่ดาวเค็ม ฯลฯ
มูลนิธิ ซี.ซี.เอฟ.ฯ และ กสศ. ลงนามความร่วมมือ "โครงการครูสร้างชุมชน เพื่อเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร"
กองทุนเฉลิมพระเกียรติ 70 พรรษา สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อดำเนินโครงการพิเศษ 2 โครงการ
ข้าวจ้ำเล่าขานตำนาน "ประเพณีตีพิ" ต.สกาด อ.ปัว จ.น่าน
[20 มิถุนายน 2567] วันแรกของประเพณี “ตีพิ” ชาวบ้านจะต้องออกจากบ้านตั้งแต่เช้าตรู่ เพื่อเข้าป่าลึกหาไม้ไผ่
เยาวชนเรียนรู้เกษตรแบบผสมผสาน จ.พะเยา
[17 มิถุนายน 2567] การบริหารพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด หนึ่งปรัชญาในการออกแบบพื้นที่ทำเกษตรตามศาสตร์พระราชาที่สามารถนำมาปรับใช้ได้ทั้งพื้นที่เล็กหรือใหญ่
อัตลักษณ์ชุมชน : "ผู้ไทไขประตูเล้า" บุญเดือนสาม จ.ยโสธร
[14 มิถุนายน 2567] “ผู้ไท ไขประตูเล้า” เป็นประเพณีหนึ่งที่สำคัญของชาวผู้ไท ซึ่งคำว่า “ไขประตูเล้า แปลว่า เปิดประตูเล้า หมายถึง เล้าข้าวหรือยุ้งฉางข้าว” ที่เก็บรักษาข้าวไว้กินตลอดชีวิต
นวัตกรรมเกษตรผสมผสาน เพื่อ "อาหารเช้า" ในโรงเรียน จ.เชียงราย
[10 มิถุนายน 2567] นวัตกรรมเกษตรผสมผสาน เพื่อ "อาหารเช้า" ในโรงเรียน จ.เชียงราย
"สุขภาพดี เริ่มต้นที่อาหาร" จ.อำนาจเจริญ จัดอบรม “อสม. น้อย”
[6 มิถุนายน 2567] "สุขภาพดี เริ่มต้นที่อาหาร" จ.อำนาจเจริญ จัดอบรม "อสม. น้อย"
บ้านหลังใหม่ของฉัน สานฝันเพื่อยาย จ.ขอนแก่น
[30 พฤษภาคม 2567] ตั้งแต่จำความได้ ยาย พี่สาว และตัวหนูเองต้องสู้อดทนนอนรวมกันในบ้านที่แออัดไปด้วยสิ่งของต่าง ๆ มากมาย ในบ้านที่เก่าและทรุดโทรม
ตามังกร สูงวัยใจเกินร้อย จ.ชัยภูมิ
[27 พฤษภาคม 2567] ถ้าเราเชื่อมั่นว่าทำได้ ต่อให้ต้องย้ายภูเขา ถมทะเล ในที่สุดก็สำเร็จจนได้