แม้ไม่มีทรัพย์ แต่ยังมีแรงและกำลังใจ
เด็กหญิงรุ่งนภา หรือ น้องอั้ม อายุ 12 ปี ครอบครัวมีกันอยู่ 4 คน พ่อกับแม่ อั้ม และน้องชาย แต่เดิมครอบครัวมีบ้านเป็นของตนเอง แต่ไม่มีห้องน้ำและไฟ้ฟ้าใช้ ทำให้ต้องไปใช้ห้องน้ำของญาติ
รอยยิ้ม อิ่มท้อง ของน้องมิยู
พ่อได้ทำโรงเพาะเห็ดเล็กๆ สำหรับวางก้อนเชื้อเห็ด ไม่สูงนัก เพื่อให้น้องมิยูดูแลได้ ทำเล้าไก่และสานตะกร้าด้วยไม้ไผ่เพื่อให้ไก่ได้วางไข่
พงษ์อนันต์ : เด็กเดินตามฝัน
น้องกี้มีความฝันอยากทำงานเป็นช่างไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ควบคู่กับการทำเกษตร ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อมีอาชีพมั่นคง และมีคลังอาหารในบ้านไว้กินตลอดทั้งปี
ขอแค่...ความเข้าใจก็พอ
หลายคนโชคดีมีชีวิตที่โรยด้วยกลีบกุหลาบมาตั้งแต่อยู่ในครรภ์ พ่อแม่ตระเตรียมสิ่งของอำนวยความสะดวก และปัจจัยต่างๆ ในชีวิตไว้อย่างสมบูรณ์พร้อม หรือบางคนจะไม่ถึงขนาดชีวิตโรยด้วยกุหลาบ
จดหมายแห่งกำลังใจ
หลายๆ คนคงเคยได้ยินเรื่องราวของเด็กคนหนึ่งในจังหวัดตากชื่อว่า “น้องชฎา” ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ของมูลนิธิฯ ในแคมเปญ “เมล็ดพันธุ์แห่งความสุข”
เล่น...เพื่อการเรียนรู้
บ่อยครั้งการลงพื้นที่ติดตามงานของพวกเรา ทีมงานเจ้าหน้าที่มูลนิธิฯ จะเห็นเด็กๆ ในพื้นที่ห่างไกล หาเก็บเศษไม้ ใบหญ้า หรือนำเอาของเหลือใช้รอบๆ บ้าน มาประดิษฐ์ของเล่นขึ้นมาเอง
สุขใจได้ใกล้ "แม่"
ทุกครั้งที่น้องจีโน่มาเข้าร่วมกิจกรรมของมูลนิธิฯ จะมากับแม่ทุกครั้ง เวลาที่น้องได้รับสิ่งของหรือเงินของขวัญที่ผู้อุปการะส่งมาให้ แม่ก็จะสอนพาน้องมาเขียนจดหมาย น้องจีโน่เขียนตอบจดหมายเองทุกครั้ง
วันที่เด็กไร้ "ไม้เอก"
ใกล้ถึงวันแม่แล้ว ผมก็ได้สอบถามเด็กๆ ว่า ถ้านึกถึง “วันแม่” พวกเรานึกถึงอะไร มีคำตอบหนึ่งที่ทำให้ผมต้องสงสัย “น้องกันย์สุดา” ตอบว่า “นึกถึงไม้เอก?”ผมงงในคำตอบและถามต่อว่าทำไมถึงได้นึกถึงไม้เอก?
ของขวัญจากผู้อุปการะ
เวลาประมาณตีสาม เป็นยามวิกาลที่ผู้คนกำลังหลับใหล แต่ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งของจังหวัดอุบลราชธานี เสียงเครื่องยนต์ดังกระหึ่มปลุกเด็กๆ ให้ตื่นนอนเพื่อเดินทางเข้ากรุงเทพฯ ไปพบกับ “คนในจดหมาย”
ซูฟียะห์ นักเล่านิทานจิ๋ว
เด็กหญิงซูฟียะห์ เป็นเด็กขยัน สอบได้ที่ 1 มีความรู้ความสามารถในหลายๆ ด้าน เช่น ร้องเล่น เต้นรำ ชอบเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียนและของมูลนิธิฯ แต่สิ่งที่น้องซูชอบมากที่สุดคือ "การเล่านิทาน"
เมื่อหนูทอเสื้อใส่เองได้
"หนูทอเสื้อใส่เองได้แล้วค่ะ" เด็กๆ กลุ่มทอผ้าโชว์เสื้อที่พวกเขาทอเองกับมือ ท่าทางตื่นเต้นดีใจ เป็นภาพที่ทำให้น้ำตารื้น ดีใจไปกับเด็กๆ เพราะนั่งลุ้นตั้งแต่เด็กๆ เริ่มเรียน จนได้เสื้อมาคนละตัว
จุดพลิกผันของชีวิตของ ปิค ผดุงเกียรติ
วันนี้ ปิค สามารถพิสูจน์ตัวเองกับคนในชุมชน และคนในครอบครัว บทบาทใหม่ในชีวิตครั้งนี้ทำให้ปิคมองเห็นถึง "คุณค่า" ของตัวเอง